457 Results
Attanai Team
Content Team

เรื่องลึกลับของผีถ้วยแก้วอาจไม่ได้อยู่ที่ผี แต่อยู่ที่ใจของเรา

        กว่า 130 ปีแล้วที่ผีถ้วยแก้วถูกใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างโลกคนเป็นกับโลกคนตาย เกมที่ผสมผสานทั้งความตื่นเต้น สนุก และขนหัวลุกไปพร้อมๆ กัน จริงหรือที่ความลึกลับของผีถ้วยแก้วอยู่ที่การขยับเองของถ้วยที่ไม่มีใครบอกได้ เมื่อนักจิตวิทยาได้ค้นพบว่า...

จริงเหรอที่นักวิทยาศาสตร์ต้องสติเฟื่อง ศิลปินต้องบ้า

ในวัฒนธรรมป็อปเราอาจจะคุ้นภาพของนักวิทยาศาสตร์สติเฟื่องกับกระดานสมการที่ดูสลับซับซ้อน ทำไมเราถึงติดภาพของนักวิทยาศาสตร์ ศิลปิน หรือคนที่มีความคิดสร้างสรรค์มากๆ กับอาการผิดปกติบางอย่าง โดยเฉพาะอาการป่วยทางจิต อะไรทำให้นักคณิตศาสตร์รางวัลโนเบลอย่าง จอห์น แนช หรือแม้แต่...

คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูกฟังครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่

        คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูก ๆ ฟังบ่อยแค่ไหน จำครั้งสุดท้ายที่คุณอ่านหนังสือนิทานให้พวกเขาฟังได้หรือเปล่า อาจเป็นเมื่อวาน เมื่อสองวันก่อน เมื่ออาทิตย์ก่อน หรืออาจจะเดือนก่อน ทุกวันหลังกลับจากทำงานหรือเวลาก่อนนอน เราให้คุณค่ากับการอ่านหนังสือนิทานให้เด็ก ๆ...

การถูกหวยทำให้เรามีความสุขมากขึ้นจริงหรือ

งานวิจัยพบว่า เมื่อเวลาผ่านไปหลายเดือน ค่าเฉลี่ยความสุขของคนที่ถูกหวยไม่ได้เพิ่มมากไปกว่าคนที่ไม่ถูกหวย บางคนกลับไม่มีความสุขยิ่งกว่าตอนก่อนถูกหวยเสียอีก งานวิจัยอื่นยังพบว่าอารมณ์ต่าง ๆ ของคนเรา ไม่ว่าจะสุข เศร้า วิตกกังวล หรือโกรธ...

สรุปให้รู้ ตามทันโลกการศึกษา ประจำเดือนพฤศจิกายน

     อีกเพียง 1 เดือนเราก็จะผ่านปี 2021 ไปแล้วแต่ที่น่าเศร้าคือโลกของเรายังคงต่อสู้กับโควิด-19 มาอย่างยาวนานและไม่มีแนวโน้มที่โรคนี้จะหายไป สถานการณ์การศึกษาทั่วโลกจึงยังคงต้องดูท่าทีของโควิด-19 ต่อไป...

เรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า

จากการระบาดของโควิด-19ในช่วงระยะเวลาเกือบ 2 ปีที่ผ่านมา หลายอย่างในสังคมเปลี่ยนไปจนเกินจะคาดเดา ความคุ้นเคยที่เปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ที่ห่างไกล พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ต้องปรับตัวอาจทำให้เราเกิดคำถามว่าเรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า...

เรียนรู้ผ่านละครในมุมมอง “ครูช่าง”

ละครอาจฟังดูแล้วเป็นเรื่องของความบันเทิงไร้สาระ แต่ที่"คณะละครมรดกใหม่" ไม่เป็นเช่นนั้น ละครเป็นกระบวนการที่จะพาไปสู่การแสวงหาความรู้และมุ่งไปสู่การปฎิบัติที่จะส่งต่อให้เกิด "ภาวนาปัญญา" เพื่อให้ความรู้นั้นอยู่นานชั่วนิรันดร์...

Let the child be the guide ให้เด็กเป็นครูของตัวเอง

ช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการเรียนรู้อยู่ที่ไหน การศึกษาแบบไหนกันที่เราควรได้รับ นี่คือคำถามที่เกิดขึ้นในใจคนเป็นพ่อแม่และครูทั่วโลก อเล็กชองดร์ มูโรต์ ผู้กำกับชาวฝรั่งเศส ใช้เวลาหนึ่งปีเต็มในการหาคำตอบที่โรงเรียนชานดาร์ก เมืองรูแบ ประเทศฝรั่งเศส...

คนเรามีเรื่องในหัวประมาณ 6,200 เรื่องในหนึ่งวัน

การศึกษาใหม่จากนักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยควีนในคิงส์ตัน รัฐออนแทรีโอ ในการสแกนสมอง fMRI พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความคิดหนึ่งไปอีกความคิดหนึ่ง แม้ว่าจะเป็นเรื่องที่ไม่มีเนื้อหาในความคิด นักวิจัยได้เรียกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของแต่ละความคิดนี้ว่า"หนอนแห่งความคิด"...

เมื่อโลกของการศึกษา ขับเคลื่อนด้วยพลังของเกม

     โลกของเกมอาจไม่ได้ขับเคลื่อนแค่จินตนาการของเด็ก แต่มันอาจขับเคลื่อนโลกของการศึกษาให้หมุนได้ไวกว่าที่เราจะจินตนาการเลยทีเดียว เกม หรือ Gamification ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการจัดการเรียนรู้ได้มีความสนุกมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนรู้สึกว่าอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นเกม...

เมื่อความจำไม่ได้อยู่ใน “สมอง” ของเราอีกต่อไป

งานวิจัยจาก Kaspersky Lab  พบว่าหลายคนมีปัญหาในการจำข้อมูลง่าย ๆ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ รหัสผ่านอีเมล หรือ รหัสบัตร ATM แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจเพราะคนในสมัยนี้เป็นกันมากเหลือเกิน อาการเหล่านี้เรียกว่า Digital Amnesia   หรือ อาการความจำเสื่อมเพราะเทคโนโลยี​...

“วันนี้แม่โกรธกี่ครั้งต่อวัน” ไอเดียงานวิจัยเด็กประถมช่วงปิดเทอม

     จากการสำรวจโดย สสส. ร่วมกับชมรมนักวิจัยเพื่อความสุขชุมชน ปี 2561 เกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็ก ๆ อยากทำในช่วงปิดเทอม ผลสำรวจจำนวน 1,760 ตัวอย่าง พบว่า กิจกรรมที่เยาวชนตั้งใจจะทำในช่วงปิดเทอม 3 อันดับแรก คือ เล่นมือถือ อินเทอร์เน็ต 71% ตามด้วยการไปเที่ยวต่างจังหวัด 53%...

ให้โอกาส “ความผิดพลาด” เป็นจุดเริ่มไม่ใช่บทสรุป

       จะมีสักครั้งไหมที่เราตั้งคำถามกับเด็ก ๆ หลักจากเฉลยการบ้านหรือทำแบบฝึกหัดแล้วพบว่ามีบางข้อที่พวกเขาทำพลาดไป คนส่วนใหญ่สนใจกับรอยปากกาสีแดงที่เขียนเป็นตัวเลขเพื่อบอกผลประเมิน เราให้ความสำคัญกับส่วนที่ทำถูกมากกว่าส่วนที่ทำผิด...

ส่งลูกเรียนนอก

     กระแสย้ายประเทศกำลังมาแรงในช่วงนี้ สำหรับพ่อแม่ที่อยากหาลู่ทางโยกย้ายลูกไปเรียนต่อเมืองนอก        ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม เช่น อยากให้เก่งภาษาขึ้น ช่วยเหลือพึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น หรือสร้างโอกาสใหม่ ๆ ให้กับอนาคตอย่างการเรียนต่อในระดับปริญญาที่ต่างประเทศ...

คณิตศาสตร์ กับ สุนทรียภาพ และ ความงาม

        ถ้านึกกันแบบผิวเผิน “คณิตศาสตร์” ดูจะเป็นสิ่งที่ยึดโยงกับนามธรรมหรือสัญลักษณ์ เป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับปริมาณ โครงสร้าง จำนวน หรือการพยากรณ์ในเชิงสถิติ จนคำว่าคณิตศาสตร์ดูคล้ายจะเป็นศาสตร์ที่ยากและไม่น่ารื่นรมย์เอาเสียเลย...

Learning pods ทางเลือกที่อาจรอด

Learning pods ทางเลือกที่อาจรอด        อีกหนึ่งทางเลือกที่อาจรอดกับรูปแบบการเรียนรู้แนวใหม่ในยุคโควิด-19 ที่พอจะดูมีหวังและใกล้เคียงกับการเรียนในโรงเรียนมากที่สุด “Learning Pods” หนทางที่จะจัดการกับปัญหาได้คือเผชิญหน้ากับมัน      แม้โควิดจะยังไม่หายไป...

6 ทักษะสำคัญ เตรียมความพร้อมสู่ “งานสีเขียว”

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ Climate change ไม่ใช่สิ่งที่ห่างไกลจากตัวเราทุกคน แต่เกิดขึ้นแล้ว “ทั่วโลก” ส่งผลให้หลายประเทศลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลดการใช้ขยะพลาสติก ใช้พลังงานหมุนเวียนมากขึ้น...

คำนี้มีที่มา EP 001 : อรุ่มเจ๊าะ

คำบางคำที่อาจจะฟังแล้วคุ้นหูแต่ว่ายังไม่รู้ที่มา วันนี้ขอเสนอที่มาของคำว่า “อรุ่มเจ๊าะ” อรุ่มเจ๊าะ คำศัพท์โซเชี่ยลคำนี้ เป็นการผสานคำศัพท์สองคำเข้าด้วยกัน นั่นคือ อรุ่ม แปลว่า รู้สึกดีมีความสุข ผสมกับคำว่า เจ๊าะ มาจากคำว่าหวานเจ๊าะ ขั้นกว่าของหวานเจี๊ยบ...

รูม่านตาสามารถวัดความฉลาดของมนุษย์เราได้

 รูม่านตาสามารถวัดความฉลาดของมนุษย์เราได้   ดวงตานอกจากจะบอกอารมณ์ความรู้สึกได้แล้ว ในหนังสือเรียนยังบอกไว้ว่ารูม่านตาสัมพันธ์กับแสงสว่างที่ฉายเข้ามาเพื่อปรับประสิทธิภาพในการมองเห็น แต่นักวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรูม่านตากับความฉลาดอีกด้วย...