เราทุกคนเสพ “สารเสพติด” กันทุกวัน เราทุกคนบริโภคสารเสพติดทุกวัน .. ประโยคแรกที่อ่านแล้วทุกคนอาจปฏิเสธว่า บ้าหรอ! ไม่เคยสักหน่อย แต่สารเสพติดที่เราพูดถึงก็คือ “น้ำตาล” นั่นแหละ ทั้งที่อยู่ในอาหาร เครื่องดื่ม หรือแม้แต่ขนมที่เราทานกันเป็นประจำทุกวัน...
10 อันดับคำค้นยอดนิยมประจำปี 2021 โดย Google
เข้าเดือนสุดท้ายของเดือนธันวาคม ย่อมเป็นธรรมเนียมที่ Google จะรวบรวมคำค้นหาที่คนไทยค้นหามากที่สุดในปีนั้น ๆ มาเผยแพร่ แสดงให้เห็นถึงความนิยม แนวโน้ม และ สิ่งที่คนไทยให้ความสนใจ กว่า 23 ปีแล้วที่ Search Engine อย่าง Google ใช้เป็นแหล่งค้นหาข้อมูลกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก...
ฟิสิกส์เบื้องหลัง Fosbury Flop ท่ากระโดดสูงที่ใช้ทำลายสถิติโลก
ท่ากระโดดหงายหลังลอยข้ามบาร์คือช็อตอันสวยงามของกีฬากระโดดสูง Fosbury Flop คือท่ายอดฮิตที่นักกีฬากระโดดสูงทั่วโลกใช้ในการแข่งขัน ใครจะรู้ว่าเบื้องหลังความสวยงามและทรงพลังของท่านี้ ย้อนกลับไปเมื่อ 50 ปีกว่าก่อน Fosbury Flop ถูกมองว่าเป็นท่ากระโดดที่แปลกประหลาดที่สุด...
ฟอนต์อ่านยากอาจช่วยให้สมองเราจดจำเนื้อหาได้ดีกว่า
เราอาจเชื่อกันมาตลอดชีวิตว่า ฟอนต์ที่อ่านง่ายจะช่วยให้จดจำเนื้อหาได้ดี แต่งานวิจัยในปี 2010 พบว่า ฟอนต์ที่อ่านยากๆ อย่าง Bodoni, Comic Sans, Haettenschweiler หรือ Monotype Corsiva กลับช่วยให้จดจำข้อมูลได้ดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับ Arial หรือ Times New Roman...
Attanai’s Podcast : Metaverse โลก(เสมือน)ใบใหม่ของการศึกษา
เป็นข่าวฮือฮา และตื่นตัวกันไปทั่วโลกเมื่อ Facebook ประกาศก้าวเท้าเข้าสู่โลกของ Metaverse พร้อมการรีแบรนด์ใหม่หมด เทคโนโลยีใหม่ที่อาจจะยังดูเป็นเรื่องไกลตัวหลายคนยังไม่ค่อยเข้าใจ ว่าโลกเสมือนจริงที่ผู้คนต่าง connect กันได้มากกว่า Social Media นั้นหน้าตาเป็นยังไง...
เรื่องลึกลับของผีถ้วยแก้วอาจไม่ได้อยู่ที่ผี แต่อยู่ที่ใจของเรา
กว่า 130 ปีแล้วที่ผีถ้วยแก้วถูกใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างโลกคนเป็นกับโลกคนตาย เกมที่ผสมผสานทั้งความตื่นเต้น สนุก และขนหัวลุกไปพร้อมๆ กัน จริงหรือที่ความลึกลับของผีถ้วยแก้วอยู่ที่การขยับเองของถ้วยที่ไม่มีใครบอกได้ เมื่อนักจิตวิทยาได้ค้นพบว่า...
จริงเหรอที่นักวิทยาศาสตร์ต้องสติเฟื่อง ศิลปินต้องบ้า
ในวัฒนธรรมป็อปเราอาจจะคุ้นภาพของนักวิทยาศาสตร์สติเฟื่องกับกระดานสมการที่ดูสลับซับซ้อน ทำไมเราถึงติดภาพของนักวิทยาศาสตร์ ศิลปิน หรือคนที่มีความคิดสร้างสรรค์มากๆ กับอาการผิดปกติบางอย่าง โดยเฉพาะอาการป่วยทางจิต อะไรทำให้นักคณิตศาสตร์รางวัลโนเบลอย่าง จอห์น แนช หรือแม้แต่...
คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูกฟังครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่
คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูก ๆ ฟังบ่อยแค่ไหน จำครั้งสุดท้ายที่คุณอ่านหนังสือนิทานให้พวกเขาฟังได้หรือเปล่า อาจเป็นเมื่อวาน เมื่อสองวันก่อน เมื่ออาทิตย์ก่อน หรืออาจจะเดือนก่อน ทุกวันหลังกลับจากทำงานหรือเวลาก่อนนอน เราให้คุณค่ากับการอ่านหนังสือนิทานให้เด็ก ๆ...
การถูกหวยทำให้เรามีความสุขมากขึ้นจริงหรือ
งานวิจัยพบว่า เมื่อเวลาผ่านไปหลายเดือน ค่าเฉลี่ยความสุขของคนที่ถูกหวยไม่ได้เพิ่มมากไปกว่าคนที่ไม่ถูกหวย บางคนกลับไม่มีความสุขยิ่งกว่าตอนก่อนถูกหวยเสียอีก งานวิจัยอื่นยังพบว่าอารมณ์ต่าง ๆ ของคนเรา ไม่ว่าจะสุข เศร้า วิตกกังวล หรือโกรธ...
Attanai’s Podcast : เราควรเชื่อสัญชาตญาณแรกไหมในการทำข้อสอบ
เชื่อหรือไม่ว่าการวิจัยทางจิตวิทยาหลายครั้ง ยืนยันว่า การตัดสินใจโดยเชื่อสัญชาตญาณแรกมักจะได้คำตอบที่ผิดมากกว่าถูกเสมอ และแม้ว่าเรื่องนี้ดูจะเป็นข้อเท็จจริงที่ผ่านการพิสูจน์กันมา แต่หลายคนยังคงเชื่อเรื่องนี้แบบไม่ลังเล...
เมื่อโลกของการศึกษา ขับเคลื่อนด้วยพลังของเกม
โลกของเกมอาจไม่ได้ขับเคลื่อนแค่จินตนาการของเด็ก แต่มันอาจขับเคลื่อนโลกของการศึกษาให้หมุนได้ไวกว่าที่เราจะจินตนาการเลยทีเดียว เกม หรือ Gamification ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการจัดการเรียนรู้ได้มีความสนุกมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนรู้สึกว่าอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นเกม...
เมื่อความจำไม่ได้อยู่ใน “สมอง” ของเราอีกต่อไป
งานวิจัยจาก Kaspersky Lab พบว่าหลายคนมีปัญหาในการจำข้อมูลง่าย ๆ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ รหัสผ่านอีเมล หรือ รหัสบัตร ATM แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจเพราะคนในสมัยนี้เป็นกันมากเหลือเกิน อาการเหล่านี้เรียกว่า Digital Amnesia หรือ อาการความจำเสื่อมเพราะเทคโนโลยี...
“วันนี้แม่โกรธกี่ครั้งต่อวัน” ไอเดียงานวิจัยเด็กประถมช่วงปิดเทอม
จากการสำรวจโดย สสส. ร่วมกับชมรมนักวิจัยเพื่อความสุขชุมชน ปี 2561 เกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็ก ๆ อยากทำในช่วงปิดเทอม ผลสำรวจจำนวน 1,760 ตัวอย่าง พบว่า กิจกรรมที่เยาวชนตั้งใจจะทำในช่วงปิดเทอม 3 อันดับแรก คือ เล่นมือถือ อินเทอร์เน็ต 71% ตามด้วยการไปเที่ยวต่างจังหวัด 53%...
ให้โอกาส “ความผิดพลาด” เป็นจุดเริ่มไม่ใช่บทสรุป
จะมีสักครั้งไหมที่เราตั้งคำถามกับเด็ก ๆ หลักจากเฉลยการบ้านหรือทำแบบฝึกหัดแล้วพบว่ามีบางข้อที่พวกเขาทำพลาดไป คนส่วนใหญ่สนใจกับรอยปากกาสีแดงที่เขียนเป็นตัวเลขเพื่อบอกผลประเมิน เราให้ความสำคัญกับส่วนที่ทำถูกมากกว่าส่วนที่ทำผิด...
ส่งลูกเรียนนอก
กระแสย้ายประเทศกำลังมาแรงในช่วงนี้ สำหรับพ่อแม่ที่อยากหาลู่ทางโยกย้ายลูกไปเรียนต่อเมืองนอก ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม เช่น อยากให้เก่งภาษาขึ้น ช่วยเหลือพึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น หรือสร้างโอกาสใหม่ ๆ ให้กับอนาคตอย่างการเรียนต่อในระดับปริญญาที่ต่างประเทศ...
คณิตศาสตร์ กับ สุนทรียภาพ และ ความงาม
ถ้านึกกันแบบผิวเผิน “คณิตศาสตร์” ดูจะเป็นสิ่งที่ยึดโยงกับนามธรรมหรือสัญลักษณ์ เป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับปริมาณ โครงสร้าง จำนวน หรือการพยากรณ์ในเชิงสถิติ จนคำว่าคณิตศาสตร์ดูคล้ายจะเป็นศาสตร์ที่ยากและไม่น่ารื่นรมย์เอาเสียเลย...
Learning pods ทางเลือกที่อาจรอด
Learning pods ทางเลือกที่อาจรอด อีกหนึ่งทางเลือกที่อาจรอดกับรูปแบบการเรียนรู้แนวใหม่ในยุคโควิด-19 ที่พอจะดูมีหวังและใกล้เคียงกับการเรียนในโรงเรียนมากที่สุด “Learning Pods” หนทางที่จะจัดการกับปัญหาได้คือเผชิญหน้ากับมัน แม้โควิดจะยังไม่หายไป...
6 ทักษะสำคัญ เตรียมความพร้อมสู่ “งานสีเขียว”
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ Climate change ไม่ใช่สิ่งที่ห่างไกลจากตัวเราทุกคน แต่เกิดขึ้นแล้ว “ทั่วโลก” ส่งผลให้หลายประเทศลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลดการใช้ขยะพลาสติก ใช้พลังงานหมุนเวียนมากขึ้น...
คำนี้มีที่มา EP 001 : อรุ่มเจ๊าะ
คำบางคำที่อาจจะฟังแล้วคุ้นหูแต่ว่ายังไม่รู้ที่มา วันนี้ขอเสนอที่มาของคำว่า “อรุ่มเจ๊าะ” อรุ่มเจ๊าะ คำศัพท์โซเชี่ยลคำนี้ เป็นการผสานคำศัพท์สองคำเข้าด้วยกัน นั่นคือ อรุ่ม แปลว่า รู้สึกดีมีความสุข ผสมกับคำว่า เจ๊าะ มาจากคำว่าหวานเจ๊าะ ขั้นกว่าของหวานเจี๊ยบ...