จากการระบาดของโควิด-19ในช่วงระยะเวลาเกือบ 2 ปีที่ผ่านมา หลายอย่างในสังคมเปลี่ยนไปจนเกินจะคาดเดา ความคุ้นเคยที่เปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ที่ห่างไกล พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ต้องปรับตัวอาจทำให้เราเกิดคำถามว่าเรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า...

เรียนรู้ผ่านละครในมุมมอง “ครูช่าง”
ละครอาจฟังดูแล้วเป็นเรื่องของความบันเทิงไร้สาระ แต่ที่"คณะละครมรดกใหม่" ไม่เป็นเช่นนั้น ละครเป็นกระบวนการที่จะพาไปสู่การแสวงหาความรู้และมุ่งไปสู่การปฎิบัติที่จะส่งต่อให้เกิด "ภาวนาปัญญา" เพื่อให้ความรู้นั้นอยู่นานชั่วนิรันดร์...
Let the child be the guide ให้เด็กเป็นครูของตัวเอง
ช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการเรียนรู้อยู่ที่ไหน การศึกษาแบบไหนกันที่เราควรได้รับ นี่คือคำถามที่เกิดขึ้นในใจคนเป็นพ่อแม่และครูทั่วโลก อเล็กชองดร์ มูโรต์ ผู้กำกับชาวฝรั่งเศส ใช้เวลาหนึ่งปีเต็มในการหาคำตอบที่โรงเรียนชานดาร์ก เมืองรูแบ ประเทศฝรั่งเศส...
คนเรามีเรื่องในหัวประมาณ 6,200 เรื่องในหนึ่งวัน
การศึกษาใหม่จากนักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยควีนในคิงส์ตัน รัฐออนแทรีโอ ในการสแกนสมอง fMRI พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความคิดหนึ่งไปอีกความคิดหนึ่ง แม้ว่าจะเป็นเรื่องที่ไม่มีเนื้อหาในความคิด นักวิจัยได้เรียกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของแต่ละความคิดนี้ว่า"หนอนแห่งความคิด"...
เราจะสร้างความเชื่อใจในสังคมได้อย่างไร
วันนี้เราจะมาเล่นเกมกันครับ เมื่อ 2-3 อาทิตย์ก่อน ผมได้อ่านบทวิเคราะห์ของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกี่ยวกับความเปราะบางของสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่องความขัดแย้งและความไม่สมานฉันท์ ในบทความบอกว่า ประเทศที่มีระดับความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันน้อย...
เรื่องขี้ ๆ ที่ไม่ขี้ของส้วม
พาราเซตามอลอาจเป็นยาสามัญประจำบ้านราคาถูกที่สุดสำหรับใครหลาย ๆ คน แต่ถ้าเราจะบอกว่า ห้องส้วมคือยารักษาโรคที่มีราคาถูกที่สุดล่ะ คุณจะคิดอย่างไร คำกล่าวนี้ไม่มีอะไรเกินจริงเลย ถ้าเรารู้ว่ามีคนจำนวน 1.5 ล้านคนทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคท้องร่วงต่อปี...
เรื่องบนเตียงในคืนวันพระจันทร์เต็มดวง
เราอาจอดรู้สึกไม่ได้ว่า คืนที่พระจันทร์เต็มดวง บรรยากาศมันช่างโรแมนติกเป็นพิเศษ เมื่อมองขึ้นไปบนท้องฟ้าแล้วเห็นดวงจันทร์กลมโตเปล่งแสงเหลืองนวลสว่าง อะไรทำให้เรารู้สึกเช่นนี้ โดยเฉพาะในคืนวันลอยกระทงที่ว่ากันว่าเป็นเทศกาลที่เสี่ยงเสียตัวมากที่สุด...
ทำไมยิ่งพูดคำเดิมซ้ำ ๆ คำนั้นยิ่งไม่มีความหมาย
เคยสังเกตกันไหมว่า เวลาที่เราพูดคำ ๆ หนึ่ง เรายังคงเข้าใจความหมายของมันได้ดีอยู่ แต่เมื่อไรที่เราเริ่มพูดคำนั้นซ้ำ ๆ เราจะเริ่มรู้สึกว่าคำไม่มีความหมาย กลายเป็นอะไรที่ฟังดูเป็นนามธรรม นี่สมองกำลังเล่นตลกหรือเราผิดปกติ ทำไมการพูดคำเดิมซ้ำ ๆ...
คำนี้มีที่มา EP 005 : countdown
คำบางคำที่อาจจะฟังแล้วคุ้นหูแต่ว่ายังไม่รู้ที่มา วันนี้ขอเสนอที่มาของคำว่า “countdown” countdown หรือการนับถอยหลังคือการนับตัวเลขถอยหลังในหลักวินาที วัน หรือหน่วยเวลาอื่นเพื่อนับถอยหลังสู่เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นหรือวันกำหนด หมดเวลา โดยทั่วไปแล้วจะนับถอยหลังในโอกาสต่าง...
Attanai’s Podcast : ให้โอกาส “ความผิดพลาด” เป็นจุดเริ่มไม่ใช่บทสรุป
เรามักให้ความสำคัญกับส่วนที่ทำถูกมากกว่าส่วนที่ทำผิด และสรุปผลจากเกรดผลการประเมินที่ได้ แต่ถ้าเรานึกดูดี ๆ เราจะพบว่าข้อที่เด็ก ๆ ทำผิดพลาดนั่นแหละคือทั้งปัญหาและเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้อีกมาก ...
Sex Education ซีรีส์อังกฤษสะท้อนหลักสูตรเพศศึกษาไทย
Sex Education ซีรีส์อังกฤษสะท้อนหลักสูตรเพศศึกษาไทย กลับมาอีกครั้งกับซีซั่นใหม่ของ Sex Education ซีรีส์ Netflix ว่าด้วยเรื่องรักวุ่น ๆ ของวัยรุ่นโรงเรียนมัธยมมัวร์เดลที่ให้แฟน ๆ รอคอยกันมานานเกินปีครึ่งจากซีซั่นก่อน...
ตำราการสอนเดิมทิ้งให้หมดแล้วเริ่มต้นใหม่
ตำราการสอนเดิมทิ้งให้หมดแล้วเริ่มต้นใหม่ เมื่อโควิดเปลี่ยนแปลงการสอนครูอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ตำราการสอนเดิมก็คงต้องทิ้งแล้วเริ่มใหม่ ถ้าวันที่ครูได้กลับมาสอนที่โรงเรียนอีกครั้งมาถึงในเร็วๆ นี้ นี่อาจเป็นครั้งแรกในชีวิตที่เราต้องยอมรับว่า...
โลกการศึกษาเดือนกันยายน สรุปให้รู้ ตามทัน
การศึกษาเดือนกันยายน สรุปให้รู้ ตามให้ทันความเคลื่อนไหว โลกการศึกษาเดือนกันยายนของเรายังไม่อาจหลุดพ้นจากการระบาดของโควิด-19 การศึกษาทั่วโลกยังคงออกมาตรการต่าง ๆ ให้สอดคล้องเพื่อรองรับการแก้ปัญหาการเรียนรู้และโควิดให้ไปได้พร้อม ๆ กัน ...
แก้ปัญหา Climate Change เริ่มต้นได้ที่ห้องเรียน
Climate Change การแก้ปัญหาเริ่มต้นได้ที่ห้องเรียน สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป climate change ไฟไหม้ในแคลิฟอร์เนีย น้ำท่วมในเยอรมนีและจีน และประเทศไทยเองก็เผชิญวิกฤตินี้ติดอันดับ 8 ของโลกเช่นเดียวกัน ไฟไหม้ในแคลิฟอร์เนีย น้ำท่วมในเยอรมนีและจีน...
เด็กจะรับมือกับความสูญเสียจากโรคระบาด (โควิด-19) นี้อย่างไร เมื่อไม่มีใครเคยสอน
โควิด-19 เด็กจะรับมือกับความสูญเสียจากนี้อย่างไร เมื่อไม่มีใครเคยสอน เว็บไซต์ worldometers รายงานว่า ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2021 มียอดผู้เสียชีวิตจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 มากถึง 4,477,144 คนทั่วโลก ข้อมูลจาก CNN ยังบอกอีกว่าจากการเสียชีวิตนี้ทุก 2...
ถึงเทคโนโลยีจะล้ำขนาดไหน แต่ทำไมการเขียนลงสมุดยังคงมีประโยชน์มากกว่า
เทคโนโลยีจะล้ำขนาดไหน แต่ทำไมการเขียนลงสมุดยังคงมีประโยชน์มากกว่า เทคโนโลยีจะล้ำขนาดไหนแต่คุณยังจำครั้งสุดท้ายที่เราหยิบดินสอหรือปากกาขึ้นมาเขียนลงสมุดได้หรือเปล่า บางคนอาจเป็นเมื่อวาน บางคนอาจนานหลายเดือน หรือหลายปีจนจำแทบไม่ได้ ...
การทำข้อสอบเราควรเชื่อสัญชาตญาณแรกไหม
การทำข้อสอบเราควรเชื่อสัญชาตญาณแรกไหม เคยได้ยินเรื่องที่บอกว่าให้เชื่อในคำตอบแรกที่ผุดขึ้นมาในการทำข้อสอบไหมครับ นั่นแหละ ที่เขาเรียกกันว่า “สัญชาตญาณ” ผมเชื่อว่าหลายคนโดยเฉพาะนักเรียนใช้แนวทางนี้บ่อย โดยเฉพาะเมื่อต้องทำข้อสอบแบบปรนัยแล้วด้วยล่ะก็...
โฮมสคูล (Home school) “ทางเลือก” หรือ “ทางรอด” กับโลกและโรคที่พลิกผัน
โฮมสคูล (Home school) “ทางเลือก” หรือ “ทางรอด” กับโลกและโรคที่พลิกผัน การปรับตัวของสถานศึกษาในการรับมือกับโควิด-19 การเรียนออนไลน์ถูกนำมาใช้ จนทำให้ช่วงนี้คำว่า โฮมสคูล (Home school) กลับมาเป็นทางเลือกอีกครั้ง ...
state of mind ฝึกใจเพื่อพัฒนาตนเอง
state of mind ฝึกใจเพื่อพัฒนาตนเอง state of mind ฝึกใจเพื่อพัฒนาตนเอง ย้อนกลับไปช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ไม่มีใครไม่รู้จักเทนนิส พาณิภัค เจ้าของเหรียญทองโอลิมปิก 2020 จากกีฬาเทควันโด เพราะเธอได้สร้างปาฏิหาริย์ด้วยการพลิกล็อกเอาชนะคู่แข่งจากสเปน...