ขี้เกียจแล้วผิดมากมั้ย? จากงานวิจัยบ่งบอกว่าคนขี้เกียจไม่ใช่คนโง่เสมอไป ปัญหาส่วนหนึ่งอาจเกี่ยวข้องกับวิธีที่เรามองความขี้เกียจเพราะความขี้เกียจอาจไม่ได้บ่งบอกถึงความขี้เกียจเสมอไป นักวิจัยได้อธิบายความขี้เกียจว่าเป็นความจำเป็นในการรับรู้...

จริงไหมที่นักศึกษาชอบกินอาหารไม่มีประโยชน์
จริงไหมที่นักศึกษาชอบกินอาหารไม่มีประโยชน์พฤติกรรมนี้มีที่มาจากไหนกัน มีนักศึกษาเพียง 1 ใน 5 เท่านั้นที่มีพฤติกรรมการกินที่ดี คือ กินของว่างบ้าง กินอาหารฟาสต์ฟูดเล็กน้อย แต่กินผักและผลไม้มาก สิ่งที่น่าสนใจที่นักวิจัยค้นพบอีกอย่าง คือ...
ทำไมอัจฉริยะถึงโดดเดี่ยว
ทำไมอัจฉริยะถึงโดดเดี่ยว บทความนี้อยากให้ทุกคนลองนึกถึงเหล่าอัจฉริยะชื่อดังบนโลกใบนี้ดู ไม่ว่าจะเป็น Albert einstein , Bill Gates ไปจนถึง Elon Musk ถ้าเราได้ศึกษาชีวประวัติพวกเขาดี ๆ เราจะสังเกตเห็นเรื่องราวบางอย่างที่พวกเขามีร่วมกัน นั่นก็คือ...
ทำไมเด็กถึงนอนเยอะกว่าผู้ใหญ่
ทำไมเด็กถึงนอนเยอะ เด็กทารกมักใช้เวลานอนเยอะกว่าเด็กโตมากนัก หน้าที่ของทารกแรกเกิดคือการเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับทุกสิ่งในสภาพแวดล้อม แต่ทารกแรกเกิดใช้เวลาร้อยละ 70 ไปกับการนอนหลับ แล้วพวกเด็ก ๆ สามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวได้อย่างไรทั้ง...
เดนมาร์ก เจาะลึกระบบการศึกษาสไตล์เมืองที่เจริญที่สุดในโลก
เดนมาร์ก เจาะลึกระบบการศึกษาสไตล์เมืองที่เจริญที่สุดในโลก เดนมาร์กเป็นประเทศที่มีความเจริญมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยดูได้จากการจัดอันดับโลก ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในด้านคุณภาพชีวิต ขีดความสามารถในการแข่งขัน ความสมดุลระหว่างชีวิตและการ ทำงาน...
วัยรุ่นยุคต้มยำกุ้งอยู่อย่างไร ? เมื่อวิกฤตเศรษฐกิจพรากความฝันหนุ่มสาว Y2K
วัยรุ่นยุคต้มยำกุ้งอยู่อย่างไร ? เมื่อวิกฤตเศรษฐกิจพรากความฝันหนุ่มสาว Y2K วิกฤตการณ์การเงิน 2540 หรือ ‘วิกฤตต้มยำกุ้ง’ เริ่มต้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 ซึ่งเป็นวันที่ประเทศไทยประกาศลอยตัวค่าเงินบาท...
William Sidis ชายที่ฉลาดมากที่สุดในโลก…แต่ไม่มีใครจดจำ
William James Sidis ชายที่ฉลาดมากที่สุดในโลก…แต่ไม่มีใครจดจำ คุณคิดว่า “ความเป็นอัจฉริยะ” มีติดตัวมาตั้งแต่เกิดหรือเปล่า? หลายครั้งเรามักจะได้ยินเรื่องราวของเด็กที่มีไอคิวเกิน 140 ขึ้นไป เพราะเด็กที่มีไอคิวอยู่ในระดับนี้ถือว่าจัดอยู่ในกลุ่มของคน...
สรุปให้รู้ตามทันโลกการศึกษา EP.23 10 เทรนด์การศึกษาปี 2024
สรุปให้รู้ตามทันโลกการศึกษา EP.23 10 เทรนด์การศึกษาปี 2024 ทุกปี ห้องเรียนเปลี่ยนหมุนตามกาลเวลาด้วยการพัฒนาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่ยุคนั่งเรียนที่วัด แบกหนังสือจนหลังแอ่น...
จิตวิทยาสีกับการรับรู้
จิตวิทยาสีกับการรับรู้ จากงานวิจัยพบว่าผู้คนตัดสินใจหรือมีปฎิสัมพันธ์ภายใน 90 วินาที สีมีผลต่อการตัดสินใจประมาณ 62-90 เปอร์เซ็นต์ การเลือกใช้สีจึงมีผลต่อความรู้สึกทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ในทศวรรษ 1980...
Adjustment Disorder เด็กไทยในวันที่ความเครียดมาเคาะประตูบ้านแบบไม่รู้ตัว
Adjustment Disorder เด็กไทยในวันที่ความเครียดมาเคาะประตูบ้านแบบไม่รู้ตัว เมื่อพูดว่า วัยรุ่นไม่ว่ายุคไหนก็มีเรื่องที่ท้าทายในชีวิตตลอดไม่ต่างกัน ทั้งเรื่องความกดดันในเรื่องการเรียน ไปจนถึงการเข้าสังคมอย่างไรก็ตาม...
ฟันผุ ปรากฎการณ์ที่สร้างผลกระทบทั่วโลก
ฟันผุ ปรากฎการณ์ที่สร้างผลกระทบทั่วโลก สถิติน่าตกใจคือผู้คนเกือบ 3.5 พันล้านคนทั่วโลกได้รับผลกระทบจากโรคในช่องปาก ไม่ว่าพวกเขาจะอาศัยอยู่ที่ไหน การศึกษา หรือรายได้เป็นอย่างไร และโรคภายในช่องปากสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ...
Snowflake Generation ความเปราะบางของคนรุ่นใหม่ที่ถูกประกอบสร้างจากสังคม
Snowflake Generation ความเปราะบางของคนรุ่นใหม่ที่ถูกประกอบสร้างจากสังคม Snowflake Generation คำนิยามของวัยmillennials ที่มีสัดส่วนที่ใหญ่ที่สุดในโลกเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมีความหลากหลายในการทำงาน Snowflake Generation...
กองดอง ที่มาที่ไป…ของการซื้อไว้แล้วไม่อ่าน
กองดอง ที่มาที่ไป…ของการซื้อไว้แล้วไม่อ่าน งานวิจัยในปี 2009 จากสถาบัน Mindlab International แห่งสหราชอาณาจักร พบว่าระดับความเครียดของคนเราสามารถลดลงได้มากถึง 68 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว จากการอ่านหนังสือเพียง 6 นาที...
การจับดินสอผิด…ชีวิตเปลี่ยน
การจับดินสอผิด…ชีวิตเปลี่ยน “การจับดินสอ” คือ พัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เด็กรู้จักการใช้มือจับของเล่นหรือการหยิบจับอาหารเข้าปาก รวมไปถึงการทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ โดยธรรมชาติแล้ว เด็กทุกคนต้องการทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง...
มีอะไรในสมองของคนขี้เกียจ
มีอะไรในสมองของคนขี้เกียจ มีอะไรในสมองของ….คนขี้เกียจ รู้หรือไม่ว่า “สมอง” เป็นอวัยวะที่ขี้เกียจที่สุดในร่างกาย นั้นคือประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของร่างกายทั้งหมด ทั้ง ๆ ที่สมองมีน้ำหนักคิดเป็น 2 %ของร่างกายเท่านั้น...
สรุปให้รู้ตามทันโลกการศึกษา EP.22 เปิดโปรแกรม STEM หลังเลิกเรียนเตรียมเด็กพร้อมอนาคตการทำงาน
สรุปให้รู้ตามทันโลกการศึกษา EP.22 เปิดโปรแกรม STEM หลังเลิกเรียนเตรียมเด็กพร้อมอนาคตการทำงาน หากพูดถึงหลังเลิกเรียนสมัยเราเป็นเด็ก ๆ ทุกคนทำอะไรกันอยู่? ในยุคที่ไม่มีเทคโนโลยีเข้ามาให้ใช้งานมากนัก อาจเที่ยวเล่นกับเพื่อน ดูทีวี ทำการบ้าน...
เรายังเป็นเราอยู่ไหม ? ในวันที่เรียนภาษาอื่น
เรายังเป็นเราอยู่ไหม ? ในวันที่เรียนภาษาอื่น “มนุษย์ตกอยู่ใต้อิทธิพลของภาษา เพราะมนุษย์ไม่ได้คำนึงว่า ภาษาเป็นเพียงระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้แทนสิ่งต่าง ๆ เท่านั้น” Edward Sapir (1884-1939) เมื่อเราพูดถึงอิทธิพลของภาษาที่มีต่อความคิดของคนเรา...
Sherlock Holmes ต้นฉบับ Critical Thinking อายุ 140 ปี
Sherlock Holmes ต้นฉบับ Critical Thinking อายุ 140 ปี Sherlock Holmes นวนิยายชุดสืบสวนสอบสวนชื่อดังที่ได้รับความนิยมมากว่า 140 ปี นับตั้งแต่การตีพิมพ์ครั้งแรกใน ค.ศ.1887 ผลงานวรรณกรรมชิ้นเอกจากปลายปากกา Arthur Conan Doyle นิยายที่ว่าด้วยเรื่องของ...
ใคร ๆ ก็ฟัง Podcast ถ้า “การฟัง” สำคัญขนาดนั้นนี้แล้ว “การอ่าน” ยังจำเป็นอยู่ไหม
ใคร ๆ ก็ฟัง Podcast ถ้า “การฟัง” สำคัญขนาดนั้นนี้แล้ว “การอ่าน” ยังจำเป็นอยู่ไหม "God gave us two ears but only one mouth" "พระเจ้าประทานหูมาให้สองข้าง แต่ประทานปากมาเพียงปากเดียว"...