อุปสรรคยุ่งเหยิง ยิ่งเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ ถ้าคุณเป็นอีกคนหนึ่งที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการทำงานแล้วมักจะหมดไอเดียอยู่บ่อย ๆ บางทีเราอาจจะต้องใส่ความยุ่งเหยิงให้ชีวิตดูบ้าง ใช่แล้วล่ะ ความยุ่งเหยิงนี่แหละที่ทำให้เราสร้างสรรค์ขึ้น...

Attanai’s Podcast : ความสำคัญของการเรียนรู้อยู่ตรงไหน
ถ้าวันหนึ่งในชั้นเรียน มีเด็กคนหนึ่งลืมเอาดินสอมา เราจะทำอย่างไร บางคนอาจเดินเข้าไปถามว่า ดินสอหายไปไหน แล้วไปหยิบของตัวเองมาให้ แต่จะมีสักกี่คนที่รอ รอเพื่อดูว่าเด็กจะทำอย่างไรต่อ...
Little Girl กับภาพสะท้อนของชีวิตเด็ก LGBTQ
Little Girl กับภาพสะท้อนของชีวิตเด็ก LGBTQ “พอโตขึ้นหนูจะเป็นผู้หญิง”- ซาช่า เด็กน้อยชาวฝรั่งเศสวัยสองปีครึ่งพร่ำบอกกับแม่ของเธอถึงความฝันในชีวิตของเด็กคนหนึ่ง เราอาจไม่สะดุดใจอะไรกับความฝันนี้ ถ้าซาซ่าไม่ใช่เด็กผู้หญิงที่เกิดมาในร่างของเด็กผู้ชาย Little Girl...
แพงทั้งแผ่นดิน แล้วค่าเทอมมหาวิทยาลัยจะถูกลงได้บ้างไหม
แพงทั้งแผ่นดิน แล้วค่าเทอมมหาวิทยาลัยจะถูกลงได้บ้างไหม เริ่มต้นปีมาได้ไม่ทันไร คนไทยก็ต้องรับศึกหนักในเรื่องค่าครองชีพที่สูงขึ้นทุกวัน ไหนจะราคาเนื้อหมูที่สร้างประวัติศาสตร์แพงสุดในรอบ 10 ปี ซึ่งอาจกระทบค่าใช้จ่ายด้านอาหารของผู้คนราว 8-10% ค่าไฟฟ้า น้ำมัน...
เราเติบโตด้วยกัน (อีกครั้ง) ณ ชานชาลาที่ 9 เศษ 3 ส่วน 4 ครบรอบ 20 ปี Harry Potter เวทมนตร์ที่สอนให้เราเป็นคนเดิมในเวอร์ชันที่ดีกว่า
Harry Potter เวทมนตร์ที่สอนให้เราเป็นคนเดิมในเวอร์ชันที่ดีกว่า โลกแห่งจินตนาการจากปลายปากกาของ J.K Rolling เปลี่ยนโลกได้อย่างไม่ต้องสงสัย สร้างเด็กหลาย ๆ คนให้เป็นหนอนหนังสือ กลายเป็น Pop Culture ที่ปลุกกระแสความนิยมในงานวรรณกรรมเยาวชน...
ทำหน้าบึ้งใช้กล้ามเนื้อบนใบหน้ามากกว่าหน้ายิ้มถึง 26 เท่า! ต้นเหตุของรอยตีนกา
ทำหน้าบึ้งใช้กล้ามเนื้อบนใบหน้ามากกว่าหน้ายิ้มถึง 26 เท่า! ต้นเหตุของรอยตีนกา ร่างกายของคนเราประกอบด้วยกล้ามเนื้อประมาณ 650 มัด ในขณะที่เรายิ้มเราใช้กล้ามเนื้อไปเพียง 15 มัดเท่านั้น และใช้พลังงานน้อยกว่าการขมวดคิ้ว 1 ครั้ง...
คำนี้มีที่มา EP 008 : ถ้วยโถโอชาม
คำบางคำที่อาจจะฟังแล้วคุ้นหูแต่ว่ายังไม่รู้ที่มา วันนี้ขอเสนอที่มาของคำว่า "ถ้วยโถโอชาม" ถ้วยโถโอชาม คำไทยที่คุ้นเคยกันดีในคนรุ่นก่อน สมัยที่ทุกคนนิยมพูดอะไรที่เป็นคำคล้องจองกันเป็นสำนวน หรือที่เรียกกันว่า คำซ้อน คำที่เกิดจากการนำคำตั้งแต่ 2...
ภาวะเรือนกระจก ไม่มีก็ไม่ได้ มากไปก็ไม่ดี
ภาวะเรือนกระจก ไม่มีก็ไม่ได้ มากไปก็ไม่ดี ตอนนี้ใคร ๆ ก็มองก๊าซเรือนกระจกเป็นผู้ร้ายที่ทำให้โลกร้อน แต่ทราบไหมครับว่า ถ้าไม่มีก๊าซพวกนี้เลย เราก็อยู่ไม่รอดเลยเหมือนกัน วันนี้เรามาดูกันหน่อยว่าภาวะเรือนกระจกถูกค้นพบยังไง...
10 ปัญหาเชาวน์ทดสอบความเป็นอัจฉริยะในตัวคุณ
10 ปัญหาเชาวน์ทดสอบความเป็นอัจฉริยะในตัวคุณ หากใครชื่นชอบการทดสอบชิงไหวชิงพริบ หรือเป็นแฟนยอดนักสืบจิ๋วโคนันแล้วล่ะก็ ห้ามเลื่อนผ่านคลิปนี้เด็ดขาด! เพราะเราจะมีคำถามมาทดสอบปฏิภาณไหวพริบที่ซุกซ่อนอยู่ในตัวคุณ แค่เพียง 10...
จริงเหรอที่นักวิทยาศาสตร์ต้องสติเฟื่อง ศิลปินต้องบ้า
ในวัฒนธรรมป็อปเราอาจจะคุ้นภาพของนักวิทยาศาสตร์สติเฟื่องกับกระดานสมการที่ดูสลับซับซ้อน ทำไมเราถึงติดภาพของนักวิทยาศาสตร์ ศิลปิน หรือคนที่มีความคิดสร้างสรรค์มากๆ กับอาการผิดปกติบางอย่าง โดยเฉพาะอาการป่วยทางจิต อะไรทำให้นักคณิตศาสตร์รางวัลโนเบลอย่าง จอห์น แนช หรือแม้แต่...
คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูกฟังครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่
คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูก ๆ ฟังบ่อยแค่ไหน จำครั้งสุดท้ายที่คุณอ่านหนังสือนิทานให้พวกเขาฟังได้หรือเปล่า อาจเป็นเมื่อวาน เมื่อสองวันก่อน เมื่ออาทิตย์ก่อน หรืออาจจะเดือนก่อน ทุกวันหลังกลับจากทำงานหรือเวลาก่อนนอน เราให้คุณค่ากับการอ่านหนังสือนิทานให้เด็ก ๆ...
การถูกหวยทำให้เรามีความสุขมากขึ้นจริงหรือ
งานวิจัยพบว่า เมื่อเวลาผ่านไปหลายเดือน ค่าเฉลี่ยความสุขของคนที่ถูกหวยไม่ได้เพิ่มมากไปกว่าคนที่ไม่ถูกหวย บางคนกลับไม่มีความสุขยิ่งกว่าตอนก่อนถูกหวยเสียอีก งานวิจัยอื่นยังพบว่าอารมณ์ต่าง ๆ ของคนเรา ไม่ว่าจะสุข เศร้า วิตกกังวล หรือโกรธ...
สรุปให้รู้ ตามทันโลกการศึกษา ประจำเดือนพฤศจิกายน
อีกเพียง 1 เดือนเราก็จะผ่านปี 2021 ไปแล้วแต่ที่น่าเศร้าคือโลกของเรายังคงต่อสู้กับโควิด-19 มาอย่างยาวนานและไม่มีแนวโน้มที่โรคนี้จะหายไป สถานการณ์การศึกษาทั่วโลกจึงยังคงต้องดูท่าทีของโควิด-19 ต่อไป...
เรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า
จากการระบาดของโควิด-19ในช่วงระยะเวลาเกือบ 2 ปีที่ผ่านมา หลายอย่างในสังคมเปลี่ยนไปจนเกินจะคาดเดา ความคุ้นเคยที่เปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ที่ห่างไกล พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ต้องปรับตัวอาจทำให้เราเกิดคำถามว่าเรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า...
เรียนรู้ผ่านละครในมุมมอง “ครูช่าง”
ละครอาจฟังดูแล้วเป็นเรื่องของความบันเทิงไร้สาระ แต่ที่"คณะละครมรดกใหม่" ไม่เป็นเช่นนั้น ละครเป็นกระบวนการที่จะพาไปสู่การแสวงหาความรู้และมุ่งไปสู่การปฎิบัติที่จะส่งต่อให้เกิด "ภาวนาปัญญา" เพื่อให้ความรู้นั้นอยู่นานชั่วนิรันดร์...
Let the child be the guide ให้เด็กเป็นครูของตัวเอง
ช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการเรียนรู้อยู่ที่ไหน การศึกษาแบบไหนกันที่เราควรได้รับ นี่คือคำถามที่เกิดขึ้นในใจคนเป็นพ่อแม่และครูทั่วโลก อเล็กชองดร์ มูโรต์ ผู้กำกับชาวฝรั่งเศส ใช้เวลาหนึ่งปีเต็มในการหาคำตอบที่โรงเรียนชานดาร์ก เมืองรูแบ ประเทศฝรั่งเศส...
คนเรามีเรื่องในหัวประมาณ 6,200 เรื่องในหนึ่งวัน
การศึกษาใหม่จากนักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยควีนในคิงส์ตัน รัฐออนแทรีโอ ในการสแกนสมอง fMRI พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความคิดหนึ่งไปอีกความคิดหนึ่ง แม้ว่าจะเป็นเรื่องที่ไม่มีเนื้อหาในความคิด นักวิจัยได้เรียกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของแต่ละความคิดนี้ว่า"หนอนแห่งความคิด"...
เราจะสร้างความเชื่อใจในสังคมได้อย่างไร
วันนี้เราจะมาเล่นเกมกันครับ เมื่อ 2-3 อาทิตย์ก่อน ผมได้อ่านบทวิเคราะห์ของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกี่ยวกับความเปราะบางของสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่องความขัดแย้งและความไม่สมานฉันท์ ในบทความบอกว่า ประเทศที่มีระดับความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันน้อย...
เรื่องขี้ ๆ ที่ไม่ขี้ของส้วม
พาราเซตามอลอาจเป็นยาสามัญประจำบ้านราคาถูกที่สุดสำหรับใครหลาย ๆ คน แต่ถ้าเราจะบอกว่า ห้องส้วมคือยารักษาโรคที่มีราคาถูกที่สุดล่ะ คุณจะคิดอย่างไร คำกล่าวนี้ไม่มีอะไรเกินจริงเลย ถ้าเรารู้ว่ามีคนจำนวน 1.5 ล้านคนทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคท้องร่วงต่อปี...