DISCOVERY

การแจกแจง (ไม่) ปกติ

การแจกแจง (ไม่) ปกติ

        “ข้อมูลที่พบในธรรมชาติหลายๆ อย่าง กระจายตัวแบบการแจกแจงปกติ (normal distribution)”         ผมคงเหมือนกับคนอื่นๆ ที่ได้ยินประโยคข้างบนมาจากไหนสักแห่ง อาจจะเป็นห้องเรียน หนังสือบางเล่ม หรือ เพื่อนที่ทำงาน ประโยคที่ทำให้ข้องใจมามากกว่าสิบปีว่า จริงเหรอ และถ้าจริง...

การเขียนส่งผลต่อสมองเราอย่างไร

การเขียนส่งผลต่อสมองเราอย่างไร

สมองส่วนหน้า         เชื่อมโยงกับการพูดและการเขียนโดยตรง นอกจากนี้ ยังเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว การคิดอย่างมีเหตุผล การตัดสินใจ การวางแผน และการแก้ปัญหา สมองส่วนข้าง        มีความสำคัญต่อการเขียนเช่นเดียวกัน ทำหน้าที่แปลคำและภาษา...

เราทุกคนเสพ “สารเสพติด” กันทุกวัน

เราทุกคนเสพ “สารเสพติด” กันทุกวัน

เราทุกคนเสพ “สารเสพติด” กันทุกวัน   เราทุกคนบริโภคสารเสพติดทุกวัน .. ประโยคแรกที่อ่านแล้วทุกคนอาจปฏิเสธว่า บ้าหรอ! ไม่เคยสักหน่อย แต่สารเสพติดที่เราพูดถึงก็คือ “น้ำตาล” นั่นแหละ ทั้งที่อยู่ในอาหาร เครื่องดื่ม หรือแม้แต่ขนมที่เราทานกันเป็นประจำทุกวัน...

ฟิสิกส์เบื้องหลัง Fosbury Flop ท่ากระโดดสูงที่ใช้ทำลายสถิติโลก

ฟิสิกส์เบื้องหลัง Fosbury Flop ท่ากระโดดสูงที่ใช้ทำลายสถิติโลก

ท่ากระโดดหงายหลังลอยข้ามบาร์คือช็อตอันสวยงามของกีฬากระโดดสูง Fosbury Flop คือท่ายอดฮิตที่นักกีฬากระโดดสูงทั่วโลกใช้ในการแข่งขัน ใครจะรู้ว่าเบื้องหลังความสวยงามและทรงพลังของท่านี้ ย้อนกลับไปเมื่อ 50 ปีกว่าก่อน Fosbury Flop ถูกมองว่าเป็นท่ากระโดดที่แปลกประหลาดที่สุด...

ฟอนต์อ่านยากอาจช่วยให้สมองเราจดจำเนื้อหาได้ดีกว่า

ฟอนต์อ่านยากอาจช่วยให้สมองเราจดจำเนื้อหาได้ดีกว่า

        เราอาจเชื่อกันมาตลอดชีวิตว่า ฟอนต์ที่อ่านง่ายจะช่วยให้จดจำเนื้อหาได้ดี แต่งานวิจัยในปี 2010 พบว่า ฟอนต์ที่อ่านยากๆ อย่าง Bodoni, Comic Sans, Haettenschweiler หรือ Monotype Corsiva กลับช่วยให้จดจำข้อมูลได้ดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับ Arial หรือ Times New Roman...

เรื่องลึกลับของผีถ้วยแก้วอาจไม่ได้อยู่ที่ผี แต่อยู่ที่ใจของเรา

เรื่องลึกลับของผีถ้วยแก้วอาจไม่ได้อยู่ที่ผี แต่อยู่ที่ใจของเรา

        กว่า 130 ปีแล้วที่ผีถ้วยแก้วถูกใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างโลกคนเป็นกับโลกคนตาย เกมที่ผสมผสานทั้งความตื่นเต้น สนุก และขนหัวลุกไปพร้อมๆ กัน จริงหรือที่ความลึกลับของผีถ้วยแก้วอยู่ที่การขยับเองของถ้วยที่ไม่มีใครบอกได้ เมื่อนักจิตวิทยาได้ค้นพบว่า...

จริงเหรอที่นักวิทยาศาสตร์ต้องสติเฟื่อง ศิลปินต้องบ้า

จริงเหรอที่นักวิทยาศาสตร์ต้องสติเฟื่อง ศิลปินต้องบ้า

ในวัฒนธรรมป็อปเราอาจจะคุ้นภาพของนักวิทยาศาสตร์สติเฟื่องกับกระดานสมการที่ดูสลับซับซ้อน ทำไมเราถึงติดภาพของนักวิทยาศาสตร์ ศิลปิน หรือคนที่มีความคิดสร้างสรรค์มากๆ กับอาการผิดปกติบางอย่าง โดยเฉพาะอาการป่วยทางจิต อะไรทำให้นักคณิตศาสตร์รางวัลโนเบลอย่าง จอห์น แนช หรือแม้แต่...

การถูกหวยทำให้เรามีความสุขมากขึ้นจริงหรือ

การถูกหวยทำให้เรามีความสุขมากขึ้นจริงหรือ

งานวิจัยพบว่า เมื่อเวลาผ่านไปหลายเดือน ค่าเฉลี่ยความสุขของคนที่ถูกหวยไม่ได้เพิ่มมากไปกว่าคนที่ไม่ถูกหวย บางคนกลับไม่มีความสุขยิ่งกว่าตอนก่อนถูกหวยเสียอีก งานวิจัยอื่นยังพบว่าอารมณ์ต่าง ๆ ของคนเรา ไม่ว่าจะสุข เศร้า วิตกกังวล หรือโกรธ...

คนเรามีเรื่องในหัวประมาณ 6,200 เรื่องในหนึ่งวัน

คนเรามีเรื่องในหัวประมาณ 6,200 เรื่องในหนึ่งวัน

การศึกษาใหม่จากนักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยควีนในคิงส์ตัน รัฐออนแทรีโอ ในการสแกนสมอง fMRI พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความคิดหนึ่งไปอีกความคิดหนึ่ง แม้ว่าจะเป็นเรื่องที่ไม่มีเนื้อหาในความคิด นักวิจัยได้เรียกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของแต่ละความคิดนี้ว่า"หนอนแห่งความคิด"...

เมื่อความจำไม่ได้อยู่ใน “สมอง” ของเราอีกต่อไป

เมื่อความจำไม่ได้อยู่ใน “สมอง” ของเราอีกต่อไป

งานวิจัยจาก Kaspersky Lab  พบว่าหลายคนมีปัญหาในการจำข้อมูลง่าย ๆ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ รหัสผ่านอีเมล หรือ รหัสบัตร ATM แต่มันก็ไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจเพราะคนในสมัยนี้เป็นกันมากเหลือเกิน อาการเหล่านี้เรียกว่า Digital Amnesia   หรือ อาการความจำเสื่อมเพราะเทคโนโลยี​...

รูม่านตาสามารถวัดความฉลาดของมนุษย์เราได้

รูม่านตาสามารถวัดความฉลาดของมนุษย์เราได้

 รูม่านตาสามารถวัดความฉลาดของมนุษย์เราได้   ดวงตานอกจากจะบอกอารมณ์ความรู้สึกได้แล้ว ในหนังสือเรียนยังบอกไว้ว่ารูม่านตาสัมพันธ์กับแสงสว่างที่ฉายเข้ามาเพื่อปรับประสิทธิภาพในการมองเห็น แต่นักวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของรูม่านตากับความฉลาดอีกด้วย...

การทำข้อสอบเราควรเชื่อสัญชาตญาณแรกไหม

การทำข้อสอบเราควรเชื่อสัญชาตญาณแรกไหม

การทำข้อสอบเราควรเชื่อสัญชาตญาณแรกไหม        เคยได้ยินเรื่องที่บอกว่าให้เชื่อในคำตอบแรกที่ผุดขึ้นมาในการทำข้อสอบไหมครับ นั่นแหละ ที่เขาเรียกกันว่า “สัญชาตญาณ”   ผมเชื่อว่าหลายคนโดยเฉพาะนักเรียนใช้แนวทางนี้บ่อย โดยเฉพาะเมื่อต้องทำข้อสอบแบบปรนัยแล้วด้วยล่ะก็...