ตามการศึกษาของทีมนักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัย Cambridge ทำการทดสอบกลุ่มชายหญิงที่กำลังดูภาพยนตร์ระทึกขวัญ ผลปรากฏว่า การทำงานของสมองส่วนควบคุมอารมณ์หรือ Amygdala เกิดการตื่นตัวขึ้นมาทันที ต่อมามีการสั่งการไปที่สมองส่วน Hypothalamus...
LEARNING IDEAS
เรียนรู้ทักษะการรับมือกับเรื่องแย่ ๆ ผ่านหนังระทึกขวัญอันดับหนึ่งของโลก
คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูกฟังครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่
คุณอ่านหนังสือนิทานให้ลูก ๆ ฟังบ่อยแค่ไหน จำครั้งสุดท้ายที่คุณอ่านหนังสือนิทานให้พวกเขาฟังได้หรือเปล่า อาจเป็นเมื่อวาน เมื่อสองวันก่อน เมื่ออาทิตย์ก่อน หรืออาจจะเดือนก่อน ทุกวันหลังกลับจากทำงานหรือเวลาก่อนนอน เราให้คุณค่ากับการอ่านหนังสือนิทานให้เด็ก ๆ...
เรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า
จากการระบาดของโควิด-19ในช่วงระยะเวลาเกือบ 2 ปีที่ผ่านมา หลายอย่างในสังคมเปลี่ยนไปจนเกินจะคาดเดา ความคุ้นเคยที่เปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ที่ห่างไกล พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ต้องปรับตัวอาจทำให้เราเกิดคำถามว่าเรายังมีความสุขดีอยู่หรือเปล่า...
Let the child be the guide ให้เด็กเป็นครูของตัวเอง
ช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการเรียนรู้อยู่ที่ไหน การศึกษาแบบไหนกันที่เราควรได้รับ นี่คือคำถามที่เกิดขึ้นในใจคนเป็นพ่อแม่และครูทั่วโลก อเล็กชองดร์ มูโรต์ ผู้กำกับชาวฝรั่งเศส ใช้เวลาหนึ่งปีเต็มในการหาคำตอบที่โรงเรียนชานดาร์ก เมืองรูแบ ประเทศฝรั่งเศส...
เราจะสร้างความเชื่อใจในสังคมได้อย่างไร
วันนี้เราจะมาเล่นเกมกันครับ เมื่อ 2-3 อาทิตย์ก่อน ผมได้อ่านบทวิเคราะห์ของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกี่ยวกับความเปราะบางของสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่องความขัดแย้งและความไม่สมานฉันท์ ในบทความบอกว่า ประเทศที่มีระดับความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันน้อย...
พลังแห่งความคิดสร้างสรรค์ เบื้องหลังความญี่ปุ๊นญี่ปุ่น
หากวันหนึ่งข้างหน้าเมื่อสถานการณ์โควิดเริ่มดีขึ้น เราสามารถเดินทางไปต่างประเทศกันได้อีกครั้ง เชื่อว่าหลายคนจะยกให้ “ญี่ปุ่น” เป็นประเทศแรกในลิสต์ที่จะต้องได้ไปเหยียบให้หายคิดถึง เพราะนอกจากอาหารจะอร่อย ผู้คนน่ารัก และมีธรรมชาติที่งดงามแล้ว...
Upskill และ Reskill ทักษะ(ไม่)ใหม่ที่จำเป็นในทุกอาชีพ
งานวิจัยจากองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ หรือ ILO คาดการณ์ไว้ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้าตำแหน่งงาน และการจ้างงานในไทยกว่า 17 ล้านตำแหน่ง คิดเป็น 44% มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกแทนที่โดยคอมพิวเตอร์ โดยกลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ แรงงานในภาคบริการ ภาคเกษตรกรรม...
รู้ไหมว่า ห้าขวบปีแรกของชีวิตในวัยเด็กนั้นสำคัญมากแค่ไหน?
รู้ไหมว่า ห้าขวบปีแรกของชีวิตในวัยเด็กนั้นสำคัญมากแค่ไหน? 5 ขวบปีแรก ช่วงเวลาทองที่สำคัญในการสร้างสายสัมพันธ์ที่แข็งแรง เพียงแค่คุณทำสิ่งเหล่านี้ ให้เร็วที่สุด และบ่อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในทุกช่วงเวลาที่ได้อยู่ร่วมกัน...
กีฬา ยาแก้ซึมเศร้าในวัยเด็ก
ผู้ใหญ่มักคิดว่าวัยเด็กเป็นช่วงเวลาของความไร้เดียงสามีความสุขและไม่ต้องรับผิดชอบชีวิตมากนัก แต่ที่น่าตกใจคือ 2-3 เปอร์เซ็นต์ของเด็กอายุ 6 ถึง 12 ปีสามารถเป็นโรคซึมเศร้าอย่างรุนแรงได้ คลินิค Child Mind Institute ในนิวยอร์กในนิวยอร์คพบว่า 7.1%...
วิธี support เด็ก ๆ เมื่อพวกเขาอกหัก “ครั้งแรก”
Guy Winch นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและความสัมพันธ์ได้พูดในรายการ TED TALK ถึง เคธี ผู้หญิงคนหนึ่งที่สามารถเอาชนะเคมีบำบัดที่เจ็บปวดจากการพบก้อนเนื้อที่เต้านม...
ผมคนเราสามารถรับน้ำหนักได้ 12 ตันหรือเท่ากับช้าง 2 เชือก
มนุษย์เรามีผมเฉลี่ย 150,000 เส้น ผมแต่ละเส้นยาวเฉลี่ย 1 เซนติเมตรต่อเดือน ถ้าหากคำนวณความยาวของเส้นผมทุกเส้นรวมกันจะยาว 10 ไมล์ หรือ 16.0934 กิโลเมตร ต่อปี ประมาณ 4 ปี ผมจะร่วงออกจากรากผมตามอายุขัย คนเรามีผมร่วงประมาณ 50 เส้นต่อวัน Frédéric Leroy จาก...
การเป็นตัวของตัวเองในที่ทำงาน ดีจริงหรือเปล่า
ในโลกที่อัตลักษณ์ตัวตนคือสิ่งที่บ่งบอกว่าเราคือใคร ไม่แปลกที่เราต่างแสดงออกถึงความเป็นตัวของตัวเองกันอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นกับคนในครอบครัว เพื่อนฝูง หรือแม้แต่คนที่ทำงาน ในแง่หนึ่งการมีอิสระได้พูดสิ่งที่เราคิด...
“วันนี้แม่โกรธกี่ครั้งต่อวัน” ไอเดียงานวิจัยเด็กประถมช่วงปิดเทอม
จากการสำรวจโดย สสส. ร่วมกับชมรมนักวิจัยเพื่อความสุขชุมชน ปี 2561 เกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็ก ๆ อยากทำในช่วงปิดเทอม ผลสำรวจจำนวน 1,760 ตัวอย่าง พบว่า กิจกรรมที่เยาวชนตั้งใจจะทำในช่วงปิดเทอม 3 อันดับแรก คือ เล่นมือถือ อินเทอร์เน็ต 71% ตามด้วยการไปเที่ยวต่างจังหวัด 53%...
ให้โอกาส “ความผิดพลาด” เป็นจุดเริ่มไม่ใช่บทสรุป
จะมีสักครั้งไหมที่เราตั้งคำถามกับเด็ก ๆ หลักจากเฉลยการบ้านหรือทำแบบฝึกหัดแล้วพบว่ามีบางข้อที่พวกเขาทำพลาดไป คนส่วนใหญ่สนใจกับรอยปากกาสีแดงที่เขียนเป็นตัวเลขเพื่อบอกผลประเมิน เราให้ความสำคัญกับส่วนที่ทำถูกมากกว่าส่วนที่ทำผิด...
คณิตศาสตร์ กับ สุนทรียภาพ และ ความงาม
ถ้านึกกันแบบผิวเผิน “คณิตศาสตร์” ดูจะเป็นสิ่งที่ยึดโยงกับนามธรรมหรือสัญลักษณ์ เป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับปริมาณ โครงสร้าง จำนวน หรือการพยากรณ์ในเชิงสถิติ จนคำว่าคณิตศาสตร์ดูคล้ายจะเป็นศาสตร์ที่ยากและไม่น่ารื่นรมย์เอาเสียเลย...
4 วิธีชมนักเรียนเพื่อสร้างบทสนทนาแบบเปิดในวันที่พวกเขาประสบความสำเร็จ
4 วิธีชมนักเรียนเพื่อสร้างบทสนทนาแบบเปิดในวันที่พวกเขาประสบความสำเร็จ เมื่อนักเรียนของเราประสบความสำเร็จกับอะไรสักอย่างที่เขาพยายามมาตลอด ครูแต่ละคนอาจมีวิธีชมนักเรียนในแบบที่ไม่เหมือนกัน หนึ่งในคำชมยอดฮิตคงจะหนีไม่พ้น “ครูภูมิใจในตัวเธอนะ” ในฐานะผู้ฟัง...
ถึงเทคโนโลยีจะล้ำขนาดไหน แต่ทำไมการเขียนลงสมุดยังคงมีประโยชน์มากกว่า
เทคโนโลยีจะล้ำขนาดไหน แต่ทำไมการเขียนลงสมุดยังคงมีประโยชน์มากกว่า เทคโนโลยีจะล้ำขนาดไหนแต่คุณยังจำครั้งสุดท้ายที่เราหยิบดินสอหรือปากกาขึ้นมาเขียนลงสมุดได้หรือเปล่า บางคนอาจเป็นเมื่อวาน บางคนอาจนานหลายเดือน หรือหลายปีจนจำแทบไม่ได้ ...
state of mind ฝึกใจเพื่อพัฒนาตนเอง
state of mind ฝึกใจเพื่อพัฒนาตนเอง state of mind ฝึกใจเพื่อพัฒนาตนเอง ย้อนกลับไปช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ไม่มีใครไม่รู้จักเทนนิส พาณิภัค เจ้าของเหรียญทองโอลิมปิก 2020 จากกีฬาเทควันโด เพราะเธอได้สร้างปาฏิหาริย์ด้วยการพลิกล็อกเอาชนะคู่แข่งจากสเปน...
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือการรู้กว้างอย่างหลากหลาย จะทำให้เราประสบความสำเร็จกันแน่
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือการรู้กว้างอย่างหลากหลาย คุณคิดว่านักกีฬาระดับโลก นักดนตรี จิตรกรระดับโลกเขามีวิธีฝึกฝนกันอย่างไร เพื่อให้ได้ความเชี่ยวชาญ และประสบความสำเร็จในทักษะนั้น พวกเขาเหล่านั้นมีชีวิตในวัยเรียนเป็นอย่างไร เขาจะเป็น “เด็กหน้าห้อง”...